ความรู้เชิงคณิตศาสตร์
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. ความรู้ทางกายภาพ
2. ความรู้ทางสังคม
3. ความรู้เชิงตรรกศาสตร์คณิตศาสตร์
4. ความรู้เชิงสัญลักษณ์
ความรู้ทางกายภาพ
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยการสังเกตรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น สี รูปร่างลักษณะ ขนาด
ความรู้ทางสังคม
เป็นความรู้ที่ได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่เราได้รับจากการเรียนรู้
เช่น หนึ่งสัปดาห์มี 7 วัน
หนึ่งเดื่อนมี 28 29 30 หรือ 31 วัน
หนึ่งปีมี 12 เดือน
ความรู้เชิงตรรกศาสตร์คณิตศาสตร์
การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ จากการสังเกต สำรวจ ทดลอง การทำกับสิ่งต่างๆเพื่อจัดระบบ มีเหตุผล
เช่น การนับจำนวนสิ่งของกลุ่มหนึ่ง และนับได้จำนวนทั้งหมดเท่ากับ 4 ซึ่งจำนวน 4 เป็นค่าของจำนวน
ความรู้เชิงสัญลักษณ์
เช่น เมื่อนับจำนวนผลไม้ 8 ผล ในตะกร้า แล้ววาดภาพวงกลมให้เท่ากับจำนวนผลไม้โดยเขียนตัวเลข 8 แทนจำนวนผลไม้ทั้งหมด
สาระและมาตรฐานการเรียนรู็คณิตศาสตร์ปฐมวัย
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สาระ 1 ค.ป. 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
จำนวน
- การใช้จำนวนบอกปริมาณที่ได้จากการนับ
- การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
- เปรียบเทียบจำนวน
- เรียงลำดับจำนวน
การรวมและการแยกกลุ่ม
- การรวมสิ่งต่างๆสองกลุ่มที่มีผมรวมไม่เกิน 10
- การแยกกลุ่มย่อยออกจากกลุ่มใหญ่ที่จำนวนไม่เกิน 10
สาระ 2 ค.ป. 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาณ เงิน และเวลา
ความยาว น้ำหนัก และปริมาณ
-การเปรียบเทียบ/การวัด/การเรียงลำดัลความยาว
- การเปรียบเทียบ/การชัง/การเรียงลำดับขนาด
-การเปรียบเทียบปริมาณ/การตรวจ
ประเมิน
ผู้สอน พยายามให้ความรู้อย่างเติมความสามารถ
ผู้เรียน พยายามรับสารที่ส่งมาอย่างเต็มที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น